โคมไฟ หรือ โคมแขวน เป็นงานหัถตกรรมพื้นบ้าน
ที่ได้รับการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น ให้คงอยู่สืบต่อจนถึงปัจจุบันในภาคเหนือซึ่งชาวล้านนาใช้ในงานประเพณียี่เป็ง
พึงสักการะบูชาพระพุทธเจ้า คืนวันเพ็ญเดือนสิบสอง (ยี่เป็งล้านนา)
ถือว่าเมื่อได้กระทำเช่นนี้แล้วและประทีปจากโคมจะช่วยส่องประกายให้ดำเนินชีวิตเจริญรุ่งเรืองอยู่เย็นเป็นสุข(สิงห์แก้ว
มโนเพ็ชร 2539) กล่าวว่า การยกโคม หรือ การลอยโคม
แต่เดิมเป็นพิธีการทางศาสนาพราหมณ์ ทำขึ้นเพื่อบูชาพระเจ้าทั้งหลาย คือ พระอิศวร
พระนารายณ์ พระพรหม ซึ่งพรหมณ์นำมาถวาย
การบูชาด้วยน้ำมันไขข้อโคนี้เป็นพิธีทางลัทธิพราหมณ์โดยแท้ ต่อมาในแผ่นดินของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวราชการที่
9 ทรงมีพระราชดำริว่า พระราชพิธีต่างๆ
ที่มีนั้นจะต้องให้มีส่วนเกี่ยวกับทางพระพุทธศาสนาดังนั้นจึงโปรดให้มีการสวดมนต์เย็น
ฉันเช้าก่อนที่จะยกโคม พระสงฆ์ที่จะสวดมนต์ประกอบไปด้วย พระราชาคณะไทย 1
คณะครูปริวัตรไทยพระราชาคณะรามัญ 1 พระครูปริคารามัญ 4 รวมเป็น 10 รูป ในการทำพิธี
(แต่โบราณ) ที่ตั้งโคมเป็นไม้ไผ่ติดกระดาษ ส่วนข้างในสานเป็นชะลอมเปิดกระดาษเป็นรูปกระบอกต่างๆ
เทียนสำหรับจุดโคมชั้นในแต่ละคืนจะใช้เทียน 24 เล่ม พอจุดได้ประมาณ 3 ชั่วโมงในสมัยก่อนจะมีโคมในพระราชวังปักประจำ
ทุกตำหนักเจ้านาย เช่น ถ้าเป็นตำหนักเจ้าฟ้าก็จะใช้โคมโครงไม้ไผ่หุ้มผ้าขาว
เช่นเดียวกับโคมประเทียบถ้าเป็นตำหนักพระองค์เจ้าหรือข้างในก็ใช้โคมโครงไม้ไผ่ปิดกระดาษ
คล้ายกับโคมบริวารที่มีอยู่ทุกตำหนัก ซึ่งโคมทั้งหมดจะใช้จุดตะเกียงด้วยถ้วยแก้ว
หรือชามเหมือนกับโคมบริวารเจ้านาย ซึ่งอยู่นอกพระบรมมหาราชวัง แต่สำหรับโคมชัย
โคมประเทียบ และโคมบริวารจะมีในพระราชวังเท่านั้น
L’importance de la lampe
L’importance de la lampe
La lampe ou le lustre de Lanna est issu de l’artisanat
dont nous avons hérité de nos ancêtres .
Jusqu’à aujourd’hui, on l’utilise pour la fête de Loy Kratong
ou pour les fêtes bouddhistes ou
encore en signe de chance et de prospérité dans notre vie quotidienne . M.
Manopetch Singlakeaw dit que cette tradition est d'origine brahmanisme pour adorer les dieux dans les anciens temps . Le Roi Rama IX a décidé que toutes les cérémonies religieuses devaient avoir leurs lampes pendant
la prière des moines bouddhistes . Ces lampes sont créées à partir du papier de
riz fixé sur un cercle de bambou et dispose d’un brûleur en cire en forme de 24 cierges qui durent 3
heures . Autrefois, on les installait dans le grand et le petit Palais . On peut
allumer aussi ces lampes dans une coupe . Cette lumière symbolise la vérité ou
l’Illumination
de Bouddha qui éclaire notre cœur .